• 10.00-12.00 น.

    เสวนา “แนวคิดทิศทางในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่เก้า
    โดย พลังเก้าบวร รศ.ดร.สมบัติ ชิณะวงศ์

  • 13.00-14.00 น.

    คลีนิค ๙ บวร ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เห็ดมาทำประโยชน์ได้หลากหลาย และให้คำแนะนำในการทำฟาร์มเห็ดให้ประสบความสำเร็จ ทั้งการผลิต การแปรรูป และการตลาด
    โดย อาจารย์เพิ่ม สุรักษา อดีตผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน

วันอาทิตย์ที่ 1 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การแปรรูปเห็ดเป็นข้าวเกรียบ
    โดย ผศ.ดร.ศศิธร นาคทอง คณะเกษตร กำแพงแสน


วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การทดสอบสมรรถนะร่างกายเบื้องต้นเพื่อสุขภาพร่างกายที่ดี
    โดย คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ


วันพุธที่ 4 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การเกษตรแม่นยำเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต
    โดย คณะเกษตร กำแพงแสน


วันพฤหัสบดีที่ 5 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การผลิตเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากเห็ดและสมุนไพรอื่น
    โดย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์


วันศุกร์ที่ 6 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้มาตรฐานสากล
    โดย นาย พิสุทธิ์ บุตรสุวรรณ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร


วันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การแปรรูปเห็ดทอดด้วยเครื่องทอดสุญญากาศ
    โดย รศ.ดร.เชาว์ อินทร์ประสิทธิ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์


วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตเห็ดด้วยนวัตกรรมสมัยใหม่
    โดย ผศ.ดร.นิรันดร์ ยิ่งยวด คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์


วันอังคารที่ 10 ธันวาคม 2567

  • 14.00-16.00 น.

    การวางแผนและการทำตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนในระบบออนไลน์
    โดย คณะอุตสาหกรรมบริการ


กิจกรรมจำหน่ายและเผยแพร่ผลิตภัณฑ์ชุมชน ในเครือข่ายเก้าบวร

  • ผลิตภัณฑ์ข้าวชง จากกลุ่มเกษตรกรจังหวัดชัยภูมิ
  • ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ ของเกษตรกรจังหวัดน่าน
  • ผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยด กะปิ ปลาเค็ม และผลิตภัณฑ์เห็ดแปรรูป ของเกษตรกรจังหวัดกระบี่
  • ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เช่น ปลานิลแดดเดียว น้ำผึ้งชันโรง ของเกษตรกรจังหวัดนครปฐม
  • ผลิตภัณฑ์แปรรูปเห็ดถังเช่า และก้อนเห็ด ของเกษตรกรบ้านเห็ดฟาร์ม กำแพงแสน
  • ผลิตภัณฑ์น้ำมันนวดเพื่อลดอาการปวดข้อเข่าและกล้ามเนื้อ โดยสมุนไพร ของเกษตรกร กำแพงแสน
  • ผลิตภัณฑ์แปรรูปทานตะวัน ของเกษตรกร จังหวัดลพบุรี
  • สาธิตการสร้างมูลค่าเพิ่ม และรายได้ จากผลิตภัณฑ์เห็ด เช่นผัดกระเพราเห็ด ก๋วยเตี๋ยวเห็ด ขนมจีนน้ำยาเห็ด

กิจกรรมให้คำปรึกษาโดยคลินิกเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการผลิตเห็ดครบวงจร

ให้คำปรึกษาโดยคลินิกเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการผลิตเห็ดครบวงจร

งานเกษตรกำแพงแสน ครั้งที่ 27
เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน ส่งเสริมการเกษตรก้าวหน้า พัฒนาเศรษฐกิจก้าวไกล สานพลังวิทยาการใหม่ ใส่ใจความเป็นกลางทางคาร์บอน
วันที่ 1-10 ธันวาคม 2567


© Kasetsart University Kamphaeng Saen Campus
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน